ด้วยภาวะวิกฤตการณ์น้ำท่วมในปัจจุบัน ประชาชนเกิดความสับสนในข้อมูลข่าวสารผลกระทบจากข้อมูลเตือนภัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในฐานะสถาบันการศึกษาที่เป็นแหล่งความรู้และแหล่งอ้างอิงของสังคม ได้ระดมคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญด้านต่าง ๆ ในการให้ความรู้แก่ประชาชนเพื่อการใช้ประโยชน์ในวงกว้าง "เครื่องมือช่วยประเมินความเสี่ยงภัยน้ำท่วมด้วยตนเอง"เป็นส่วนหนึ่งของ "ระบบสารสนเทศ ประเมินความเสี่ยงภัยน้ำท่วม" ที่กำลังพัฒนาขึ้น จากฐานข้อมูลที่มีอยู่แล้วในส่วนราชการ เช่น กรุงเทพมหานคร เป็นต้น และเป็นเครื่องมือที่ประชาชนทั่วไปจะได้รับรู้สภาพกายภาพของตนเอง และประเมินระดับ "น้ำ" ที่อาจมีผลกระทบได้ ระบบเป็นแผนที่ออนไลน์ โดยผู้ใช้เป็นผู้ป้อนข้อมูลคาดการณ์ระดับน้ำท่วม ซึ่งผู้ใช้สามารถเรียกดูจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ |
1.How long have you been working for this problem ? I started working as a volunteer in 1985 for less-fortunate children. Later on in 1996 I became a full-time worker since I got more serious with marginalized population issues. In 2000 I focused to work with the homeless. So, I’ve been in this field for 22 years; 11 years for marginalized people and 7 years for the homeless. 2. The main problem of those homeless e.g. where are they from and why are they here ? The problem develops...
วันพุธที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2554
ระบบสารสนเทศ ประเมินความเสี่ยงภัยน้ำท่วม / http://www.chula.ac.th/flood_rest/
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น